
การศึกษาไทยกับการศึกษาต่างประเทศจะเหมือนกันไหมนะ และการศึกษาของแต่ละประเทศจะเป็นอย่างไร เชื่อว่าทุกคนคงคุ้นเคยและรู้จักกับระบบการศึกษาของประเทศไทย แต่รู้หรือไม่ว่าการศึกษาต่างประเทศเด็กใช้เวลาเรียนในแต่ละน้อยกว่าไทยมาก และยังมีข้อแตกต่างอีกมากมาย วันนี้เรามีข้อเปรียบเทียบมาให้ ไปดูกันเลยค่ะ คนขั้นเทพ
ความแตกต่างระหว่างการศึกษาไทยกับการศึกษาต่างประเทศ

1. เวลาในการเรียน
เวลาของการศึกษาไทยกับการศึกษาต่างประเทศ ในโลกของเราแบ่งออกเป็นหลายทวีป ซึ่งเวลาของแต่ละประเทศจะไม่เท่ากันอยู่แล้ว แต่ถ้าพูดถึงระยะเวลาที่ใช้ในการเรียนของแต่ละวันจะไม่เท่ากัน โดยการศึกษาของประเทศไทยเวลาใน 1 วัน เด็กใช้เวลาเรียนเฉลี่ย 7 – 8 ชั่วโมงในการเรียน ในขณะที่การศึกษาของต่างประเทศใช้เรียนเฉลี่ยเพียงวันละ 3 – 5 ชั่วโมงเท่านั้น
2. การแต่งกายเพื่อการไปเรียน
การแต่งกายของการศึกษาไทยกับการศึกษาต่างประเทศ ประเทศไทยมีกฎเกณฑ์บังคับให้แต่งเครื่องแบบนักเรียนให้ถูกต้องตามกฎกระทรวงและตามกฎของโรงเรียน ไม่อนุญาตให้แต่งกายในชุดไปรเวทมาโรงเรียนได้ แต่การศึกษาในต่างประเทศบางโรงเรียนอนุญาตให้นักเรียน นักศึกษา แต่งกายไปเรียนโดยชุดอะไรก็ได้ โดยเฉพาะในระดับ High School หรือ University ซึ่งการแต่งกายนี้มีหลายประเทศทั่วมุมโลกที่ใช้กันค่ะ

3. วิชาที่ต้องเรียน
วิชาเรียนของการศึกษาไทยกับการศึกษาต่างประเทศ การศึกษาไทยกับต่างประเทศจะเรียนในรายวิชาที่เหมือนกันค่ะ เช่น วิชาคณิตศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ วิชาวิทยาศาสตร์ ในรายวิชาหลักจะมีสอนแทบทุกประเทศในมุมโลก แต่จะมีความแตกต่าง เช่น ประเทศไทยจะเรียนวิชาภาษาไทย ในต่างประเทศจะไม่มีการเรียนการสอนในรายวิชานี้ แต่จะเปลี่ยนเป็นภาษาหลักที่ใช้ในประเทศหรือภาษาที่นักเรียนสนใจแทน
4. รูปแบบการเรียนการศึกษา
รูปแบบของการศึกษาของการศึกษาไทยกับการศึกษาต่างประเทศ ประเทศไทยส่วนใหญ่จะเน้นให้เรียนไปในด้านวิชาการให้แน่น มีชั่วโมงว่างหรือทำกิจกรรมอื่น ๆ ได้เล็กน้อย เน้นเรียนในห้องมากกว่านอกห้อง บรรยากาศในชั้นเรียนแตกต่างจากต่างประเทศ เพราะในการศึกษาต่างประเทศจะเน้นการเรียนนอกห้องมากกว่าในห้องเรียน ครูผู้สอนจะให้การบ้านหรือหัวข้อให้นักเรียนไปค้นคว้านอกห้อง และมาแชร์ความรู้กันภายในห้อง เน้นการทำกิจกรรมร่วมกันมากกว่าวิชาการในห้อง

5. จำนวนครูต่อนักเรียน
ความแตกต่างของจำนวนครูในชั้นเรียนของการศึกษาไทยกับการศึกษาต่างประเทศ ในต่างประเทศห้องเรียนจะกำหนดให้มีเด็กห้องละ 12 คนมากสุดก็ 20 คน เพราะเขาอยากพัฒนาศักยภาพที่เด็กแต่ละคนมีซึ่งการดูแลเป็นรายคนจึงสำคัญ ส่วนการศึกษาไทยบางโรงเรียนห้องละ 50 คน ทำให้การพัฒนาเป็นไปได้ยาก
เป็นยังไงกันบ้างคะ กับข้อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการศึกษาไทยกับการศึกษาต่างประเทศ หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อหลาย ๆ ท่านที่กำลังจะตัดสินใจ เรื่องการเรียนต่อไม่ว่าจะเป็นการศึกษาไทยหรือการศึกษาต่างประเทศ
ผู้สนับสนุน ล็อตโต้สด